วันเสาร์ที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2555

คำราชาศัพท์

คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์ หมายความว่า ศัพท์หลวง ศัพท์ราชการ และหมายรวมถึงคำสุภาพซึ่งนำมาใช้ให้ถูกต้องตามชั้นหรือฐานะของบุคคล บุคคลผู้ที่พูดต้องใช้ราชาศัพท์ด้วย
จำแนกเป็น 5 ประเภท คือ
1. พระมหากษัตริย์
2. พระบรมวงศานุวงศ์
3. พระสงฆ์
4. ข้าราชการชั้นสูงหรือขุนนาง
5. สุภาพชนทั่วไป

คำราชาศัพท์แบ่งได้ 6 หมวด คือ
1. หมวดร่างกาย
2. หมวดเครือญาติ
3. หมวดเครื่องใช้
4. หมวดกริยา
5. หมวดสรรพนาม
6. หมวดคำที่ใช้กับพระสงฆ์

หมวดร่างกาย

หมวดเครือญาติ

หมวดเครื่องใช้

หมวดคำกริยา

หมวดสรรพนาม

หมวดคำที่ใช้กับพระสงฆ์


คำสุภาพ
คำที่เหมาะใช้กับบุคคลทั่วไป เป็นคำที่มีความหมายเหมือนกัน



ข้อสังเกต
เกี่ยวกับการใช้คำราชาศัพท์ ระดับพระมหากษัตริย์และบรมวงศานุวงศ์
คำนาม
1. ใช้คำ “พระบรม” หรือ “พระบรมราช” นำหน้าคำนามที่สำคัญ ซึ่งสมควรจะเชิดชูให้เป็นเกียรติ
ตัวอย่าง พระบรมราชโองการ
พระบรมราชูปถัมภ์
พระบรมมหาราชวัง
พระบรมวงศานุวงศ์
2. ใช้คำ “พระราช” นำหน้าคำนามที่ใช้เฉพาะพระมหากษัตริย์ซึ่งต้องการกล่าวไม่ให้ปนกับพระบรมวงศานุวงศ์ ตัวอย่าง
พระราชลัญจกร
พระราชประวัติ
พระราชดำริ
พระราชทรัพย์
3. ใช้คำ “พระ” นำหน้าคำนามทั่วไปเพื่อให้แตกต่างจากสามัญชน ตัวอย่าง
พระเก้าอี้
พระชะตา
พระโรค
พระตำหนัก
4. ใช้คำ “พระ” นำหน้าคำนามทั่วไปเพื่อให้แตกต่างจากสามัญชน
ยกเว้น

คำกริยา


กริยา คำว่า “ทรง”
คำว่าทรง ทรง ตามด้วย คำนาม มีความหมายถึง กษัตริย์เทพเจ้า
ตัวอย่าง ทรงธรรม ทรงชัย ทรงฉัตร หมายถึง พระเจ้าแผ่นดิน
ทรงหงส์ หมายถึง พระพรหม
ทรงโค หมายถึง พระอิศวร
ทรงครุฑ หมายถึง พระนารายณ์

คำว่าทรง คำนาม ตามด้วย ทรง บอกให้ทราบว่า สิ่งนั้นเป็นของพระมหากษัตริย์ หรือพระบรมวงศานุวงศ์ ตัวอย่าง เครื่องทรง รถพระที่นั่งทรง ม้าทรง
คำว่าทรงตามด้วยนามราชาศัพท์ ตัวอย่าง ทรงยินดี ทรงฟัง ทรงนิ่ง
คำว่าทรงหมายถึงทำ ตัวอย่าง ทรงบาตร หมายถึง ใส่บาตร
ทรงม้า หมายถึง ขี่ม้า
ทรงกรม หมายถึง มีฐานันดรเป็นเจ้าต่างกรม

คำว่าทรงเมื่อใช้กับกริยา “มี” และ “เป็น”
• ถ้าคำนามข้างหน้าเป็นราชาศัพท์ ไม่ต้องใช้ทรง
ตัวอย่าง เป็นพระราชโอรส มีพระบรมราชโองการ
• ถ้าคำนามข้างหลังเป็นคำสามัญ ต้องใช้ทรง
ตัวอย่าง ทรงเป็นประธาน ทรงมีทุกข์



บทพากย์เอราวัณ

ถอดคำประพันธ์เรื่องบทพากย์ช้างเอราวัณ
ถอดคำประพันธ์

บทที่ ๑ อินทรชิตแปลงกายเหมือนพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ
บทที่ ๒ ช้างเอราวัณ (แปลง) เป็นช้างเผือกที่มีรูปร่างใหญ่โตแข็งแรง
บทที่ ๓ (ช้างเอราวัณ) มีเศียรที่งดงาม ๓๓ เศียรและเศียรหนึ่งมีงาอยู่ ๗ งาซึ่งงดงามมาก
บทที่ ๔ งาหนึ่งงามีสระบัวอยู่ ๗ สระ และสระบัวหนึ่งสระมีบัวอยู่ ๗ กอ
บทที่ ๕ กอบัวหนึ่งกอมีดอกบัวอยู่ ๗ ดอก และบัวหนึ่งดอกมีกลีบบัวอยู่ ๗ กลีบ
บทที่ ๖ บัว ๑ กลีบมีเทพธิดาผู้อ่อนเยาวว์และงดงามอยู่ ๗ องค์
บทที่ ๗ เทพธิดาองค์หนึ่งมีบริวาร ๗ ตนล้วนแต่เป็นยักษ์แปลงมาทั้งสิ้น
บทที่ ๘ นางบริวารร่ายรำและชายตาทำท่าทางงดงามราวกับนางฟ้า
บทที่ ๙ ที่เศียรทุกเศียรของช้างเอราวัณมีวิมานแก้วที่งดงามราวกับวิมานเวไชยันต์ของพระอินทร์
บทที่ ๑๐ ช้างเอราวัณ (แปลง) ประดับด้วยแก้วเก้าระการ เช่น โกเมนที่ซองหางและ
กระวิน ส่วนที่สายชนักเป็นสร้อยที่ถักด้วยทอง
บทที่ ๑๑ มีตาข่ายร้อยด้วยเพชรสำหรับตกแต่งที่เศียรช้าง มีผ้าทิพปกที่ตระพองของช้าง
และมีผู้ห้อยที่หูทุกหูของช้าง
บทที่ ๑๒ ยักษ์แปลงเป็นโลทันสารถีของพระอินทร์มีหน้าที่บังคับท้ายช้างพระที่นั่งของพระอินทร์
บทที่ ๑๓ บรรดาทหารของกองทัพยักษ์ต่างแปลงเป็นเทวดา
บทที่ ๑๔ ทัพหน้าแปลงเป็นเทพารักษ์ ทัพหลังแปลงเป็นครุฑ กินนรและนาค
บทที่ ๑๕ ปีกซ้ายแปลงเป็นฤาษีและวิทยาธร ปีกขวาแปลงเป็นคนธรรพ์ กองทัพจัดตั้งตามตำราพิชัยสงคราม
บทที่ ๑๖ เทวดา (แปลง) ทุกองค์ล้วนถืออาวุธต่าง ๆ เช่น โตมร ศร พระขรรค์และคทา
 บทที่ ๑๗ เทวดา (แปลง) ทุกองค์รีบเหาะมายังสนามรบ

ถอดคำประพันธ์ตามหนังสือเรียน
เนื้อเรื่องหน้า ๑๒๔-๑๒๕
อินทรชิตแปลงกายเป็นพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณซึ่งมีลักษณะดังนี้คือ
มีกายสีขาวเหมือนสังข์มีเศียรงดงาม ๓๓ เศียร แต่ละเศียรมีงา ๗ งา ซึ่งสวยงามเหมือนเพชร
งาแต่ละกิ่งมีสระบัว ๗ สระ แต่ละสระมีกอบัว ๗ กอ แต่ละกอมีดอกบัว ๗ ดอก แต่ละดอกมีกลีบบัวบาน ๗ กลีบ แต่ละกลีบมีนางฟ้ารูปงามอยู่ ๗ องค์ แต่ละองค์มีบริวารที่เป็นหญิงงาม ๗ นาง
ซึ่งจับระบำรำฟ้อนด้วยท่าทางอย่างนางฟ้า ที่เศียรช้างทุกเศียรมีบุษบกวิมานซึ่งงามราวกับ
วิมานเวไชยันต์ของพระอินทร์ ช้างเอราวัณใส่เครื่องประดับช้างที่ประดับตกแต่งอย่างสวยงาม
ด้วยแก้วนพรัตน์ และทอง

เนื้อเรื่องหน้า ๑๒๔-๑๒๕
ช้างเอราวัณใส่เครื่องประดับช้างที่ประดับตกแต่งอย่างสวยงามด้วยแก้วนพรัตน์ และทอง
ควาญช้างกับสารถีของอินทรชิตชื่อ โลทัน เป็นเทพบุตรนั่งอยู่ท้ายช้าง เป็นผู้ขับขี่ช้าง เหล่าทหารทั้งสี่เหล่าแปลงกายเป็นเทพ และอมนุษย์ ผู้มีฤทธิ์ ทัพหน้า คือ เทพารักษ์ ทัพหลัง คือ ครุฑ กินนร และนาค
ปีกซ้าย คือ วิทยาธร ปีกขวา คือ คนธรรพ์ การจัดกระบวนทัพเป็นไปตามตำราสงคราม
และทหารทุกนายล้วนมีอาวุธครบครัน
เมื่อฟ้าเริ่มสว่างเหล่าแมลงภู่ผึ้ง และหงส์ทองก็ร่อนลงมาหาอาหารกิน เสียงนกกาเหว่า ไก่
และฝูงนกก็เริ่มส่งเสียงประสานกัน พระลักษณ์ พระรามก็ตื่นบรรทม

เนื้อเรื่องหน้า ๑๒๖-๑๒๗
เมื่อพระราม และพระลักษณ์ตื่นบรรทม ทั้งสองพระองค์จึงเสด็จประทับ
บนรถทรงที่ประดับด้วยแก้วแวววาว เพลารถมีลายวิจิตรตระการตา และยังมีเครื่องสูง
สำหรับแสดงพระอิสริยยศ โดยมาตลีสารถีของพระอินทร์มาขับรถทรง ดังกึกก้อง
เข้าไปยังกลางกองทัพทั้ง ๔ เหล่า ซึ่งตอนนี้เริ่มตีกลอง และเป่าสังข์เพื่อส่งสัญญาณออกศึก
เหล่าทหารส่งเสียงโห่ร้องเอาชัย ดังสนั่นก้องไปทั่วป่า สรรพสัตว์ทั้งหลายต่างตกใจ
แม้แต่ลูกครุฑเมื่อได้ยินเสียงของฝ่ายกองทัพพระรามก็ตกใจพลัดตกจากวิมานฉิมพลี
เช่นเดียวกับนกหัสดีลิงค์เมื่อได้ยินก็ตกใจปล่อยช้างที่คาบลง เหล่าเทวดาและนางฟ้า
ต่างโปรยดอกไม้เพื่อเป็นการอำนวยอวยชัยให้

เนื้อเรื่องหน้า ๑๒๗-๑๒๘
พระลักษณ์เมื่อเห็นกองทัพของพระอินทร์เสด็จมาจึงตรัสถามสุครีพว่าเพราะเหตุใด
พระอินทร์จึงเสด็จมา ณ ที่แห่งนี้ สุครีพเห็นผิดสังเกตจึงบอกให้พระลักษณ์ระวังพระองค์
เพราะเกรงว่าจะเป็นกลลวงของฝ่ายยักษ์
อินทรชิตเห็นพระลักษณ์ก็รีบสั่งให้ไพร่พลจับระบำถวาย จนพระลักษณ์เคลิบเคลิ้ม
อินทรชิตเห็นได้โอกาสจึงแผลงศรพรหมมาสตร์ต้องพระวรกายของ
พระลักษณ์ล้มลงกลางไพร่พลในสนามรบนั้น

ใบกิจกรรมการเรียนรู้วิชาภาษาไทย  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
เรื่อง  บทพากย์เอราวัณ
คำชี้แจง   ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหา เรื่อง บทพากย์เอราวัณ  ในหนังสือเรียนวรรณคดีวิจักษ์ แล้วตอบคำถาม                   ต่อไปนี้
๑. ผู้แต่ง.............................................................................................................................................................
๒. ลักษณะคำประพันธ์.....................................................................................................................................
๓. จุดประสงค์ในการแต่ง.................................................................................................................................
๔. ที่มาของเรื่อง................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
๕. จงเขียนอธิบายเกี่ยวช้างเอราวัณ  พอสังเขป...................................................................................................
๖. จงเขียนอธิบายเกี่ยวกับอินทรชิต  พอสังเขป......................................................................................................
๗. จงเขียนอธิบายเกี่ยวกับบทพากย์หรือคำพากย์  พอสังเขป.......................................................................................
 
๘. จงเขียนอธิบายเกี่ยวกับบทพากย์เอราวัณ สังเขป..................................................................
๙. จงเขียนคำอธิบายศัพท์ต่อไปนี้

คำศัพท์

ความหมาย

๑. กง

 

๒. กบี่

 

๓. กระวิน

 

๔. กินนร

 

๕. เก้าแก้ว

 

๖. คนธรรพ์

 

๗. จันทรี

 

๘. ฉิมพลี

 

๙. ชนัก

 

๑๐. ชันหู

 

๑๑. ชุมสาย

 

๑๒. โตมร

 
 

คำศัพท์

ความหมาย

๑๓. ธิบดินทร์

 

๑๔. บรรเทือง

 

๑๕. บิดเบือนกายิน

 

๑๖. โบกขรณี

 

๑๗. ผกา

 

๑๘. พรหมาสตร์

 

๑๙. พระจักรี

 

๒๐. พระสุรีย์ศรี

 

๒๑. พัดโบก

 

๒๒. พานรินทร์

 

๒๓. มยุรฉัตร

 

๒๔. มาตลี

 

๒๕. มารยา

 

๒๖. โยธาจัตุรงค์

 

๒๗. รถแก้วโกสีย์

 

๒๘. ระเหิด

 

๒๙. ราพณ์

 

๓๐. อมรินทร์

 
 

       
๑๐.  ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม  แล้วช่วยกันถอดคำประพันธ์ จำนวนกลุ่มละ ๕-๖ บท  โดยให้นักเรียนคัดลอกบทประพันธ์ดังกล่าวลงไป  แล้วถอดคำประพันธ์นั้นให้ได้ใจความที่สมบูรณ์
คำประพันธ์บทที่...............ถึง.................
บทที่.........
.......................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
ถอดความได้ว่า...................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
บทที่.........
..........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
ถอดความได้ว่า.........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
บทที่.........
........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
ถอดความได้ว่า..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
บทที่.........
.........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
ถอดความได้ว่า........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
บทที่.........
...................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
ถอดความได้ว่า............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
บทที่.........
......................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
ถอดความได้ว่า..........................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
๑๑. จงเขียนผังภูมิกาพย์ฉบัง ๑๖   จำนวน ๒  บท พร้อมโยงสัมผัสระหว่างวรรค  และสัมผัสระหว่างบท
 
 
 
 
 
                                                               
ใบกิจกรรมทบทวนการเรียนรู้วิชาภาษาไทย  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
“ ท่องจบ.....ต้องทบทวน ”

                                อินทรชิตบิดเบือนกายิน                     ................................................
                ทรงคชเอราวัณ
                                .....................................                               เผือกผ่องผิวพรรณ
                ..................................................
                                สามสิบสามเศียรโสภา                       ................................................
                .................................................                              
                                งาหนึ่งเจ็ดโบกขรณี                            สระหนึ่งย่อมมี
                ................................................               
                                กอหนึ่งเจ็ดดอกดวงมาลย์                  ................................................
                มีกลีบได้เจ็ดกลีบผกา
                                .......................................                            เจ็ดองค์โสภา
                แน่งน้อย......................................
                                นางหนึ่งย่อมมีบริวาร                        อีกเจ็ดเยาวมาลย์
                ล้วนรูปนิรมิตมารยา
                                จับระบำรำร่ายส่ายหา                         ชำเลือง....................................
                ทำทีดังเทพ.................................
    ชื่อ..............................................................................ชั้น...............................เลขที่.....................